การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ( VAT ) บุคคลธรรมดา
ผู้ประกอบการที่ขายสินค้าหรือให้บริการในทางธุรกิจหรือวิชาชีพเป็นปกติธุระ ไม่ว่าจะประกอบกิจการในรูปของบุคคลธรรมดา คณะบุคคลหรือ
ห้างหุ้นส่วนสามัญที่มิใช่นิติบุคคล หรือนิติบุคคลใด ๆ หากมีรายรับจากการขายสินค้าหรือให้บริการเกินกว่า 1.2 ล้านบาทต่อปี มีหน้าที่ต้องยื่นคำขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มเพื่อเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียน โดยคำนวณภาษีที่ต้องเสียจากภาษีขายหักด้วยภาษีซื้อ
วิธีการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
1.แบบคำขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
แบบคำขอที่ใช้ในการขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ได้แก่ แบบ ภ.พ.01 ซึ่งในเขตกรุงเทพมหานครขอรับได้ที่สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขา(เขต/อำเภอ) หรือสำนักงานสรรพากรพื้นที่ สำหรับในจังหวัดอื่นขอรับได้ที่สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขา(อำเภอ) ทุกแห่ง
2.เอกสารที่ต้องใช้ในการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
(1) คำขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มตามแบบ ภ.พ.01 จำนวน 3 ฉบับ
(2) สำเนาทะเบียนบ้านหรือหลักฐานแสดงการอยู่อาศัยจริง พร้อมภาพถ่ายสำเนาดังกล่าว
(3) บัตรประจำตัวประชาชนและบัตรประจำตัวผู้เสียภาษีอากร พร้อมภาพถ่ายบัตรดังกล่าว
(4) สัญญาเช่าอาคารอันเป็นที่ตั้งสถานประกอบการ (กรณีเช่า) หรือหนังสือยินยอมให้ใช้สถานประกอบการ และหลักฐานแสดงกรรมสิทธิ์ เช่น เป็นเจ้าบ้าน, สัญญาซื้อขาย, คำขอหมายเลขบ้าน, ใบโอนกรรมสิทธิ์, สัญญาเช่าช่วง พร้อมสำเนาทะเบียนบ้านอันเป็นที่ตั้งสถานประกอบการและภาพถ่ายเอกสารดังกล่าว
(5) หนังสือจัดตั้งห้างหุ้นส่วน พร้อมภาพถ่ายหนังสือดังกล่าว (กรณีเป็นห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคล)
(6) หนังสือรับรองของนายทะเบียนห้างหุ้นส่วน บริษัท พร้อมวัตถุประสงค์ หนังสือบริคณห์สนธิ และข้อบังคับ และใบทะเบียนพาณิชย์พร้อมภาพถ่ายหนังสือดังกล่าว (กรณีเป็นนิติบุคคล)
(7) บัตรประจำตัวประชาชนของกรรมการผู้จัดการ หรือหุ้นส่วนผู้จัดการ และสำเนาทะเบียนบ้าน พร้อมภาพถ่ายเอกสารดังกล่าว
(8) แผนที่ซึ่งแสดงที่ตั้งของสถานประกอบการโดยสังเขป และภาพถ่ายสถานประกอบการจำนวน 2 ชุด
(9) กรณีมอบอำนาจให้ผู้อื่นทำการแทน ต้องมีหนังสือมอบอำนาจปิดอากรแสตมป์ 10 บาท บัตรประจำตัวประชาชนของผู้มอบอำนาจและผู้รับมอบอำนาจพร้อมภาพถ่ายบัตรดังกล่าว โดยผู้รับมอบอำนาจต้องมีอายุ 20 ปีขึ้นไป
บุคคลธรรมดาจด ( VAT )
On:
Tagged: a 7,
bht ย่อมาจาก,
kp คือ,
tax point คือ,
Tax คือ,
value added services คือ,
value added tax คือ,
value added คือ,
vat,
vat 10,
vat 7 คิดยังไง,
vat 7 คือ,
vat 7 คือ อะไร,
vat 7%,
vat 9%,
vat tax,
vat คือ,
vat คือ อะไร,
vat คืออะไร,
vat ย่อ มา จาก,
vat ย่อมาจาก,
vat7,
vats คือ,
กรมสรรพากร vat,
การ คำนวณ vat,
การ คิด vat,
การ คิด vat 7,
การ คิด ภาษี 7,
การ คิด ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
การ คํา น วณ ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
การ ยกเว้น ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
การ หา ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
การ เสีย ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม,
การคิด vat,
การคิด vat 7,
การคิดvat,
การคิดภาษี 7,
การคิดภาษีมูลค่าเพิ่ม,
การคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่ม,
การถอด vat,
การถอดแวท,
การหาภาษีมูลค่าเพิ่ม,
การเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม,
กิจการ ที่ ไม่ ต้อง เสีย ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
กิจการที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม,
กิจการที่ได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม,
กิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม,
กิจการที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม,
ข้อสอบภาษีมูลค่าเพิ่ม,
ขาย vat,
ขาย สินค้า ไป ต่าง ประเทศ ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
ขายสินค้าไปต่างประเทศ ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
ความ รับผิด ใน การ เสีย ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
ความ รู้ เกี่ยว กับ ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
ความ หมาย ของ ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
ความ หมาย ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
ความรู้เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม,
ความหมายของภาษีมูลค่าเพิ่ม,
ความหมายภาษีมูลค่าเพิ่ม,
ค่า vat,
คำนวณ vat 7,
คำนวณvat,
คำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม,
คิด vat,
คิด vat 7,
คิด vat 7 ยังไง,
คิด ถอด vat 7,
คิด ภาษี 7,
คิด ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
คิดvat,
คิดภาษี 7,
คิดภาษีมูลค่าเพิ่ม,
คิดภาษีมูลค่าเพิ่ม 7,
คํา น วณ ภาษี 7,
คํานวณภาษี 7,
ฐานภาษีมูลค่าเพิ่ม,
ตัวอย่าง การ คำนวณ ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
ตัวอย่าง การ คํา น วณ ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7,
ตัวอย่าง ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
ตัวอย่าง โจทย์ ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
ตัวอย่างภาษีมูลค่าเพิ่ม,
ถอดแวท,
ธุรกิจ ท้องถิ่น,
บรรยายภาษีมูลค่าเพิ่ม,
ประมวลรัษฎากร 2561,
ประมวลรัษฎากร ล่าสุด,
ผู้ ประกอบ การ ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
ผู้ มี หน้าที่ เสีย ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
ผู้ประกอบการที่ขายสินค้าหรือให้บริการที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตามกฎหมาย,
ผู้ประกอบการภาษีมูลค่าเพิ่ม,
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม,
ภาษี vat,
ภาษี vat คือ,
ภาษี ขาย,
ภาษี ขาย คือ,
ภาษี ขาย มากกว่า ภาษี ซื้อ,
ภาษี ขาย หมาย ถึง,
ภาษี ซื้อ มากกว่า ภาษี ขาย,
ภาษี ซื้อ มี อะไร บ้าง,
ภาษี ซื้อ หมาย ถึง,
ภาษี ซื้อ อยู่ หมวด ไหน,
ภาษี มูลค่าเพิ่ม,
ภาษีขาย,
ภาษีขาย คือ,
ภาษีซื้อ,
ภาษีซื้อ ภาษีขาย อยู่หมวดไหน,
ภาษีซื้อ หมายถึง,
ภาษีซื้อมีอะไรบ้าง,
ภาษีซื้อยังไม่ถึงกําหนด express,
ภาษีซื้อยื่นย้อนหลังได้กี่เดือน,
ภาษีท้องถิ่น,
ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 2560,
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 2561,
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 6.3,
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7,
ภาษีมูลค่าเพิ่ม vat,
ภาษีมูลค่าเพิ่ม คือ,
ภาษีมูลค่าเพิ่ม นำ เข้า สินค้า,
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ปัจจุบัน,
ภาษีมูลค่าเพิ่ม มี กี่ อัตรา,
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ยกเว้น,
ภาษีมูลค่าเพิ่ม หมาย ถึง อะไร,
ภาษีมูลค่าเพิ่มคือ,
ภาษีมูลค่าเพิ่มคืออะไร,
ภาษีมูลค่าเพิ่มมีกี่ประเภท,
ภาษีมูลค่าเพิ่มแต่ละประเทศ,
มาตรา 77/2,
มาตรา 81 แห่งประมวลรัษฎากร,
มูลค่า เพิ่ม,
ยกเว้น ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
ยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม,
ยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม มาตรา 81,
ระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม,
ลดภาษีมูลค่าเพิ่ม,
วิธี การ คิด vat,
วิธี การ คิด vat 7,
วิธี การ คิด ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7 บุคคลธรรมดา,
วิธี การ ถอด vat,
วิธี คิด vat,
วิธี คิด ภาษี 7,
วิธี คิด ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7,
วิธี คํา น วณ ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
วิธี หา vat 7,
วิธีการคิดภาษีมูลค่าเพิ่ม,
วิธีการถอด vat,
วิธีคำนวณภาษีส่งออก,
วิธีคิด vat,
วิธีคิด vat 3 ย้อนกลับ,
วิธีคิด vat 7,
วิธีคิด vat 7 ย้อนกลับ,
วิธีคิดvat,
วิธีคิดภาษี 7,
วิธีคิดภาษีมูลค่าเพิ่ม,
วิธีคิดแวท,
วิธีคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่ม,
วิธีถอด vat,
วิธีถอดvat,
สรุป ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
สรุปภาษีมูลค่าเพิ่ม,
ส่วนลดการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
สินค้า ที่ ยกเว้น ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
สินค้า ที่ ได้ รับ การ ยกเว้น ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
สินค้า ที่ ได้ รับ ยกเว้น ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
สินค้า ยกเว้น vat,
สินค้า ยกเว้น ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
สินค้าที่ยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม,
สินค้าที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม,
สินค้ายกเว้น vat,
สินค้ายกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม,
สูตร ถอด vat,
สูตร ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
สูตรถอด vat,
สูตรถอดvat,
หน้าที่ของผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม,
ออกจากระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม,
อัตรา คือ,
อัตรา ภาษีมูลค่าเพิ่ม ปัจจุบัน,
อัตรา ภาษีมูลค่าเพิ่ม มี กี่ อัตรา,
อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม,
อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม 2560,
อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม 2561,
อัตราภาษีมูลค่าเพิ่มปี 2561,
อัตราภาษีมูลค่าเพิ่มมีกี่อัตรา,
แบบฝึกหัด ภาษีมูลค่าเพิ่ม,
แว ต,
โจทย์ ภาษีมูลค่าเพิ่ม
(Visited 2,278 times, 1 visits today)